Category Archives: Orange Pi

มาสร้างไฟล์ Cascade ไว้ใช้ตรวจจับวัตถุกัน

ในตอนที่แล้วนั้น ได้แสดงตัวอย่างการเขียนโปรแกรม Face Detection โดยใช้ Library SimpleCV บนภาษา Python ที่มีข้อดีคือ ใช้งานง่าย ไม่ยุ่งยาก โดยในตอนนั้นเราจะเห็นว่า มีไฟล์ xml ชื่อ face.xml ที่ถูกใช้ในฟังก์ชัน findHaarFeature  และในตอนนี้เราจะมาทำความรู้จักกับ Haar feature-based ซึ่งถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการตรวจจับวัตถุ และเราจะมาสร้างไฟล์ xml ของเราเองกันครับ

< Orange Pi > USB Wifi Dongle ใช้งานได้สักที

เมื่อหลายเดือนก่อน ได้ USB Wifi Dongle มาในราคาที่ถูกมาก เพื่อใช้กับ Raspberry Pi ดังที่เขียนไปในตอน [ Raspberry Pi ] การใช้งานกับ LB-Link Wireless USB Adapter  แต่เมื่อเอามาลองใช้กับ Armbian บน Orange Pi แล้ว กลับพบปัญหามากมาย ทั้งในส่วนการที่ Driver จาก Realtek ที่ไม่รองรับ (เข้าใจว่าปัญหานี้มาจากส่วนของ CPU H3 เอง ทำให้ Firmware ของ Realtek นั้นไม่สามารถใช้งานได้) และในส่วนของ Network Management ของ Armbian

แนะนำ SimpleCV ที่ทำให้ Image Processing นั้นง่ายขึ้น

วันนี้จะมาแนะนำ Library สำหรับติดต่อกับกล้อง และวิเคราะห์ภาพแบบง่ายๆกันครับ โดย Library ตัวนี้พัฒนาต่อจาก OpenCV ของ Intel อันโด่งดังอีกที แต่เนื่องจากการใช้ OepnCV นั้นจะเป็นที่จะต้องพึ่งพาความรู้พื้นฐานเรื่อง Image Processing ในระดับหนึ่งเลยทีเดียว ซึ่งแปลว่าต้องใช้เวลาศึกษาอีกพอสมควรเลยทีเดียวกว่าจะทำอะไรได้เป็นชิ้นเป็นอัน แต่… บ่อยครั้งเราก็ไม่ได้อยากจะศึกษาอะไรลึกซึ้งมากขนาดนั้น หรือบ่อยครั้งที่เราเพียงอยากได้อะไรที่ง่ายๆ มาทำเล่นสนุกๆดูก่อนเพียงเท่านั้น อยากพักเรื่องทฤษฏีอะไรมากมายลงบ้าง ถ้าเช่นนั้นแล้ว เราขอแนะนำให้รู้จักกับ SimpleCV ไลบรารี่ สำหรับ Image Processing แบบง่ายๆ ให้รู้จักครับ

< Orange Pi > ไฟกระพริบต้องมี สวิตส์กดๆต้องมา ด้วยภาษา Python [2]

ในตอนที่แล้ว เราได้แนะนำให้รู้จัก และวิธีการติดตั้ง Library ของ Python ที่ชื่อ WiringPi-Python-OP กันไปแล้ว ในตอนนี้ เราจะมาเริ่มต้นใช้งาน Library ตัวนี้กัน ด้วยการเขียนโปรแกรมควบคุม LED ผ่านสวิตซ์ แบบง่ายๆ ก่อนอื่นเลย เราคงต้องเตรียมวงจรที่จะใช้ทดสอบเสียก่อน โดยจะใช้ I/O pin ที่ 0-7 เป็น Output และ 8-15 เป็น Input วงจร Input นั้นเป็นแบบ Active Low ดังนั้นสถานะปกติจะเป็น 1 เสมอ และวงจร Output จะเป็นแบบ Active Low นั่นคือ ไฟจะติดสว่างเมื่อเราสั่งให้

< Orange Pi > ไฟกระพริบต้องมี สวิตส์กดๆต้องมา ด้วยภาษา Python [1]

Orange Pi One ที่ใช้อยู่นั้น บนบอร์ดจะมี I/O Pin อยู่ทั้งหมด 40 ขา โดย 40 ขานี้ จะตรงกับ I/O Pin 40 ขาของ Raspberry Pi ดังนั้นเราจึงสามารถใช้ extension board ของ Raspberry Pi ซึ่งมีอยู่มากมายได้เช่นกัน เพียงแต่เงื่อนไขสำคัญของการใช้งาน I/O ต่างๆนั้น ขึ้นอยู่กับ Library ของอุปกรณ์นั้นๆ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญมากในการพัฒนา ในตอนนี้เราจะขอแนะนำให้รู้จัก Library สำหรับใช้งาน I/O ต่างๆ ผ่าน ภาษา Python ซึ่งน่าใช้งานมากๆเนื่องจากได้รูปแบบมาจาก WiringPi ของ Raspberry

< Orange Pi > Sysbench เครื่องมือ benchmark ของ Embedded Linux [2]

ในบทความ “Sysbench เครื่องมือ benchmark ของ Embedded Linux” เราได้แนะนำ และทดลองใช้งาน โปรแกรม Sysbench โดยการวัดประสิทธิภาพของ CPU รวมถึงการแนะนำฟังค์ชั่นอื่นๆของ Sysbench ไปบ้างแล้ว ในคราวนี้ เราจะมาแนะนำฟังค์ชั่นเพิ่มเติมอีก 2 ฟังค์ชั่น นั่นคือการทดสอบประสิทธิภาพการทำงานในระบบฐานข้อมูล และการทำงานในด้านการอ่านเขียนข้อมูลลงบน Flash Memory ก่อนที่จะสามารถทดสอบระบบฐานข้อมูล ได้นั้น เราต้องติดตั้ง ระบบจัดการฐานข้อมูล เสียก่อน โดยในที่นี้ผมเลือกที่จะติดตั้ง MariaDB แทนที่จะเป็น MySQL ซึ่ง MariaDB สามารถใช้แทน MySQL ได้อย่างไม่มีปัญหาด้านความเข้ากันได้ของระบบ หากยังไม่ได้ติดตั้ง MariaDB ก็สามารถติดตั้งตามบทความในหัวข้อ “< Orange Pi > แมวน้ำก็มา!